สินค้า : กลุ่มระบบประปา และสุขาภิบาล

ถังน้ำ ถังบำบัดและอุปกรณ์
-
ถังไฟเบอร์กลาส
ปั๊มน้ำ ทุกประเภทและอุปกรณ์
-
ปั๊มอัตโนมัติ
ท่อประปาเหล็ก
-
ท่อเหล็กปลายเรียบ
-
ท่อเหล็กปลายเกลียว
ท่อพีวีซี (สีฟ้า)
-
ท่อธรรมดา(สีฟ้า) ชั้น 5
-
ท่อธรรมดา(สีฟ้า) ชั้น 8.5
-
ท่อธรรมดา(สีฟ้า) ชั้น 13.5
-
ท่องานประปา
ท่อ PP-R และอุปกรณ์
-
ท่อ PP-R
-
ข้อต่อ PP-R
เครื่องกรองน้ำ อุปกรณ์
อุปกรณ์เสริมงานประปา
-
มาตรวัดน้ำ-มิเตอร์
-
บอลวาล์ว
-
ประตูน้ำ
อุปกรณ์งานเกษตร
- อุปกรณ์ท่อเกษตร
- สแลนท์
ท่อพีอี และเทปน้ำหยด
- ท่อ PE
- เทปน้ำหยด
อุปกรณ์ท่อพีอี
- ข้อต่อแรงดันสูง
- ระบบวาล์ว-อุปกรณ์ต่าง ๆ
สายยางทุกประเภท
- สายยางอ่อนพีวีซีใส
- สายยางเขียว
สุขภัณฑ์
อุปกรณ์สุขภัณฑ์
ตู้อาบน้ำ อ่างอาบน้ำ
- ตู้อาบน้ำ
- อ่างอาบน้ำ
- ถาดรองอาบน้ำ
- ฉากกั้นอาบน้ำ
ก๊อกน้ำและฝักบัว
กระจกเงาห้องน้ำ
- กระจกเงาพีวีซี
- กระจกเงา
เฟอร์นิเจอร์ห้องน้ำ
- เคาน์เตอร์อ่างล้างหน้า
อุปกรณ์ห้องน้ำ
- ราวพาดผ้า
- ที่กดสบู่
- ผ้าม่านห้องน้ำ
- ที่ใส่กระดาษชำระ
- ขอแขวนผ้า
- ห่วงแขวนผ้า
- หิ้งวางของ
- ราวพยุง
การเตรียมระบบน้ำประปาในบ้าน
ระบบน้ำประปาเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอย่างมากในบ้านและอาคารต่างๆ โดยหากเรามีการจัดการและวางแผนที่ดี ก็จะช่วยลดปัญหาจุกจิกหลังจากที่อยู่อาศัยได้ โดยสิ่งที่เราต้องเตรียมตัวหลักๆ นั้นมีอยู่ 2 อย่างคือ
1. เตรียมระบบจ่ายน้ำ
ระบบจ่ายน้ำแบ่งออกเป็นจ่ายน้ำขึ้นและระบบจ่ายน้ำลง โดยระบบจ่ายน้ำขึ้นเป็นระบบที่ใช้กับบ้านหรืออาคารที่มีความสูงไม่เกิน 4 ชั้น โดยน้ำประปาแรงสามารถจ่ายเข้าบ้านโดยตรง โดยหากน้ำประปาไม่แรงก็ควรให้ประปาไหลเข้าไปเก็บในถังน้ำ และใช้ปั้มดูดน้ำจากถังเก็บน้ำเข้าบ้านอีกที โดยสำหรับบ้านที่ใช้ระบบปั้มน้ำ ควรจะมีระบบท่อบายพาสสำรองไว้ด้วย เผื่อกรณีไฟดับและทำให้ปั้มไม่ทำงาน ส่วนระบบจ่ายน้ำลงสำหรับคอนโด อพาร์ทเมนต์ หรือที่พักที่มีความสูงเกิน 4 ชั้นขึ้นไป โดยหลังจากสูบขึ้นไปบนอาคารแล้ว ใช้ระบบจ่ายน้ำลงมีด้วยแรงโน้มถ่วง โดยยิ่งสูงมากเท่าไหร่น้ำก็จะยิ่งแรงมากขึ้น ชั้นล่างนั้นจะแรงสุด ส่วนบริเวณชั้นบนที่อยู่ใกล้ถังเก็บน้ำก็อาจเกิดปัญหาน้ำแรงไม่พอ ทำให้น้ำไหลไม่แรง จึงควรปั้มน้ำดูดจ่ายลงมาเพื่อเพิ่มแรงดันน้ำ
2. การเดินท่อประปาส่งต่อไปยังจุดต่างๆ
โดยทั่วไประบบประปาในบ้านมักจะใช้ ¾ นิ้ว และ 1 นิ้ว ส่วนท่อแยกเข้าสุขภัณฑ์ต่างๆ จะใช้ท่อขนาด ½ นิ้ว ปัจจุบันท่อประปาพัฒนามาเป็นแบบท่อพีวีซี (ท่อ PVC) เพื่อป้องกันการเกิดสนิม โดยก่อนที่จะเลือกใช้ท่อประปาควรเข้าใจการเดินระบบงาน โดยการเดินท่อประปาภายในบ้านมีอยู่ 2 แบบ
1. การเดินท่อแบบลอยตัว การเดินท่อลอยโดยติดกับผนัง เพดาน ง่านต่อการซ่อมบำรุงเพราะมองเห็นได้ชัดเจน ทำให้ง่ายต่อการซ่อมบำรุง เหมาะกับบ้านที่ต้องการติดตั้งงานระบบเพิ่มเติม เพื่อเลี่ยงความยุ่งยากเรื่องการสกัดผนังสำหรับติดตั้งท่อ การเดินท่อนี้จะให้ดูเข้ากันกับบ้านสไตล์ loft ที่ต้องการโชวโครงสร้างวัสดุ หรือหากอยากตกแต่งให้ท่อมีความกลมกลืนกับผนังบ้าน ก็สามารถทาทับตัวท่อได้ด้วย แต่อาจไม่เป็นที่ชื่ชอบสำหรับบ้านที่ต้องการความเรียบร้อยในงานตกแต่ง
2. การเดินท่อแบบฝังภายในพื้นที่หรือผนัง คือการเจาะผนังหรือพื้นเพื่อเดินท่อน้ำดี ก่อนฉาบปูนทับ ส่วนใหญ่เราจะเห็นการติดตั้งรูปแบบนี้มากกว่า เพราะทำให้บ้านดูเรียบร้อยสวยงาม แต่มีการซ่อมแซมและบำรุงรักษายาก เราควรเตรียมพื้นที่ไว้ตั้งแต่ต้นเพื่อจะได้ไม่ต้องสกัดผนังหรือพื้นในภายหลัง